16 หมวด 279 มาตรา

July 1, 2022, 11:08 am
ตมสม-ปลา-ท-สด

การเมือง 26 มี. ค. 2559 เวลา 16:17 น. 4. 6k กรธ. เคาะร่างรัฐธรรมนูญ 279 มาตรา 16 หมวด ชี้เป็นรัฐธรรมนูญช่วงเปลี่ยนผ่าน ยันเลือกตั้งตามโรดแมป ที่โรงแรมอิมพีเรียล หัวหิน บีช รีสอร์ท จ. ประจวบคีรีขันธ์ มีการประชุมกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ. ) นอกสถานที่ มีนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรธ. เป็นประธานการประชุม เพื่อพิจารณาทบทวนร่างรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นวันสุดท้าย จากนั้นเวลา 13. 00 น. นายนรชิต สิงหเสนี โฆษกกรธ. แถลงภายหลังการประชุมว่า เราได้ข้อสรุปว่า ร่างรัฐธรรมนูญมีทั้งสิ้น 279 มาตรา 16 หมวด รวมบทเฉพาะกาลแล้ว ซึ่งสาเหตุที่ลงท้ายด้วยเลข 9 เพราะเป็นตัวเลขที่สวยดี โดยกรธ. สามารถร่างรัฐธรรมนูญตามโจทย์ที่คสช. และรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 กำหนดไว้และเป็นรัฐธรรมนูญฉบับเปลี่ยนผ่านเป็นการป้องกันผู้ทุจริตไม่ให้กลับสู่การเมือง ทั้งนี้เราได้กำหนดหมวดปฏิรูปไว้ชัดเจนว่า มีด้านอะไรบ้าง โดยมีการกำหนดระยะเวลาให้รัฐบาลใหม่เข้ามาต้องดำเนินการภายใน 1 ปีและต้องกำหนดผลสำเร็จในการปฏิรูปเป็นระยะเวลา 5 ปีโดยไม่มีสภาพบังคับหากรัฐบาลไม่ดำเนินการ เว้นแต่เรื่องการปฏิรูปตำรวจ ต้องทำให้เสร็จภายใน 1 ปี หากทำไม่ได้การแต่งตั้งโยกย้ายก็ต้องเป็นไปตามลำดับอาวุโส นายนรชิต กล่าวอีกว่า ส่วนการเลือกตั้งส.

  1. Images
  2. กรธ. เคาะร่างรัฐธรรมนูญ 279 มาตรา 16 หมวด
  3. เกาะประเด็น - กรธ.เคาะร่างรัฐธรรมนูญ 279 มาตรา 16 หมวด

Images

16 หมวด 279 มาตรา english 16 หมวด 279 มาตรา new

กรธ. เคาะร่างรัฐธรรมนูญ 279 มาตรา 16 หมวด

  1. Ssd 1000gb ราคา external hard drive
  2. แบบบ้านหลังเล็ก 10 บ้านหลังเล็กน่ารัก สำหรับคนงบน้อย !!
  3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
  4. วิทยาลัย พณิชยการ เชียงใหม่
  5. Air freight forwarder คือ vs
  6. 16 หมวด 279 มาตรา time
  7. 16 หมวด 279 มาตรา song
  8. เศษใบอ้อยจากการเผาปกคลุมบ้าน นึกว่าลายกระเบื้อง - The Report Time
  9. 16 หมวด 279 มาตรา 4

ส. จะเกิดขึ้นภายใน 150 วันภายหลังที่พ. ร. บ. ประกอบรัฐธรรมนูญ 4 ฉบับที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งมีผลใช้บังคับแล้ว คือ พ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง ส. ส., พ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งส. ว., พ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง และพ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต. ) โดยยืนยันว่าการเลือกตั้งจะเป็นไปตามโร้ดแม็ปของคสช. คือ 6-4-6-4 และหากสนช. สปท. ครม. และคสช. จะลงสมัครรับเลือกตั้งส. ต้องลาออกจากตำแหน่งภายหลังรัฐธรรมนูญประกาศใช้ภายใน 90 วัน ส่วนพ. ประกอบรัฐธรรมนูญอีก 7 ฉบับจะต้องทำให้เสร็จภายใน 8 เดือนนับแต่รัฐธรรมนูญประกาศใช้ ทั้งนี้ในส่วนของการเลือกตั้งส. ว. ทางอ้อมจำนวน 200 คนก่อนให้คสช. เลือกเหลือ 50 คน จะต้องเริ่มกระบวนการก่อนการเลือกตั้งส. 15 วัน โดยให้กกต. ดำเนินการส่วนการสรรหาส. อีก 200 คนก็เป็นหน้าที่ของคสช. ดำเนินการต่อไป โฆษกกรธ. กล่าวต่อไปว่า นอกจากนี้ในวัน 28 มี. 59 กรธ. จะเริ่มประชุมในเวลา 09. เพื่อเรียงเลขรายมาตราและให้กรธ. กลับไปตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง ก่อนส่งมอบให้ครม. ในวันที่ 29 มี. 59 และอธิบายชี้แจงร่างรัฐธรรมนูญแก่ สนช. และสปท. ที่รัฐสภาในวันที่ 30 มี.

เกาะประเด็น - กรธ.เคาะร่างรัฐธรรมนูญ 279 มาตรา 16 หมวด

ยังเข้าไป แทรกแซงการแต่งตั้งองค์กรอิสระ ด้วยการออกคำสั่งเพื่อต่ออายุให้กับองค์กรอิสระ เช่น เช่น คำสั่งหัวหน้าคสช. ฉบับที่ 24/2560 ให้งดเว้นการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามคำสั่งก่อนหน้านี้เอาไว้ก่อน เพื่อรอรัฐธรรมนูญใหม่และกฎหมายลูก และยืดอายุให้ตุลาการจำนวน 5 คน ได้แก่ นุรักษ์ มาประณีต, ชัช ชลวร, บุญส่ง กุลบุปผา, อุดมศักดิ์ นิติมนตรี และจรัญ ภักดีธนากุล ซึ่งจะพ้นจากตำแหน่งหลังอยู่ครบวาระ รวมไปถึงการแต่งตั้งคนในรัฐบาลคสช. เข้าไปเป็นคณะกรรมการสรรหาองค์กรอิสระ อย่างเช่น คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 13/2558 กำหนดให้ประธาน สนช. และรองนายกรัฐมนตรี เข้าเป็นกรรมการสรรหาคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ป. ช. ) ซึ่งรองนายกรัฐมนตรีคนดังกล่าว คือ วิษณุ เครืองาม มาตรา 279 คุ้มครองการใช้อำนาจในยุครัฐประหาร รัฐธรรมนูญ มาตรา 279 บัญญัติว่า "บรรดาประกาศ คําสั่ง และการกระทําของคสช. หรือของหัวหน้า คสช. ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ หรือที่จะออกใช้บังคับต่อไปตามมาตรา 265 วรรคสอง ไม่ว่าเป็นประกาศ คําสั่ง หรือการกระทําที่มีผลใช้บังคับ ในทางรัฐธรรมนูญ ทางนิติบัญญัติ ทางบริหาร หรือทางตุลาการ ให้ประกาศ คําสั่ง การกระทําตลอดจนการปฏิบัติตามประกาศ คําสั่ง หรือการกระทํานั้น เป็นประกาศ คําสั่ง การกระทํา หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้และกฎหมาย และมีผลใช้บังคับโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป" จากบทบัญญัติดังกล่าว ตีความได้ง่ายๆ ว่า ให้บรรดาการใช้อำนาจพิเศษในยุคคสช.

หน้าแรก รัฐธรรมนูญ พ. ศ. 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ---------------------------------- ------------------------------------ แสดงความคิดเห็น 0 ความคิดเห็น

shopnwf.com, 2024